ข้อมูลและสภาพทั่วไป ปีการศึกษา ๒๕๕๘
๑. ประวัติของโรงเรียนบ้านสูงเนินสามัคคี
โรงเรียนบ้านสูงเนินสามัคคี ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑
โดยนายหนู ศิริกุล นายอำเภอพรรณานิคม เป็นผู้จัดตั้งอาศัยศาลาวัดไทรทอง บ้านสูงเนิน
เป็นสถานที่เรียนแห่งแรก ชื่อ “โรงเรียนประชาบาลตำบลพอกน้อย ๒ (วัดไทรทอง)”
มีนายเขียน ชินาฮาด เป็นครูใหญ่คนแรก และนายศรีเมือง กลยนี เป็นครูประจำชั้น
เปิดสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๔
พ.ศ.๒๕๐๑ ย้ายมาตั้งสถานที่เรียนมาอยู่ในที่ดินปัจจุบันทางด้านทิศใต้ของ
วัดไทรทอง เปลี่ยนชื่อโรงเรียนใหม่ เป็น “โรงเรียนบ้านสูงเนินสามัคคี” เมื่อแรกตั้งดำรงอยู่ได้ด้วยงบประมาณ
การประถมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ องค์การบริหารส่วนจังหวัด และปัจจุบันสังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ.๒๕๐๓ เปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๗ และ พ.ศ.๒๕๒๙
เปิดทำการสอนชั้นอนุบาลปีที่ ๑
๒. ที่ตั้ง
โรงเรียนบ้านสูงเนินสามัคคี ตั้งอยู่เลขที่ ๒๓๘ หมู่ที่ ๒ บ้านสูงเนิน
ถนนนิตโย (สายสกลนคร - อุดรธานี) ตำบลพอกน้อย อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร
รหัสไปรษณีย์ ๔๗๒๒๐ มีพื้นที่ ๑๓ ไร่ - งาน ๑๔ ตารางวา โดยอาณาติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ จด ถนนนิตโย (สายสกลนคร- อุดรธานี)
ทิศใต้ จด ที่ดินของชุมชน (นายผล นรสาร)
ทิศตะวันออก จด ที่ดินของชุมชน (นายสีด่อน นวลมณี)
ทิศตะวันตก จด ที่ดินของชุมชน (นางสีใคร จันทร์ลาวงค์)
๓. สภาพชุมชน
โรงเรียนบ้านสูงเนินสามัคคี มีเขตบริการ ๒ หมู่บ้าน คือ หมู่ ๒ บ้านสูงเนิน และหมู่ ๑๒
บ้านสามแยกสูงเนิน มีประชากร ๙๑๐ คน และหมู่ ๑๒ บ้านสามแยกสูงเนิน มีประชากร ๖๖๑ คน ประชากร
ส่วนใหญ่มีอาชีพทางการเกษตร ได้แก่ การทำนา ทำสวน ทำไร่ และเลี้ยงสัตว์ ฐานะเศรษฐกิจปานกลาง
สภาพสังคม ชุมชนทั้ง ๒ หมู่บ้าน เป็นชนกลุ่มเผ่าผู้ไทย เป็นชนกลุ่มเผ่ารักสงบ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่กัน และยังรักษา
ขนบธรรมประเพณีของตนไว้อย่างดี ยึดมั่นทางด้านศาสนายังเหนียวแน่น อยู่ใกล้กับแหล่งธรรมะและแหล่งเรียนรู้หลายแห่ง
เช่น วัดพระธาตุภูเพ็ก วัดถ้ำขาม วัดอาจาโรรังสี วัดอุดมสมพร (วัดพระอาจารย์ฝั้น)
๔. ภารกิจของโรงเรียน
ปัจจุบันโรงเรียนบ้านสูงเนินสามัคคี มีข้าราชการครูทั้งหมด ๒๑ คน พนักงานราชการ ๑ คน
ลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่ง พี่เลี้ยงเด็กพิการ ๑ คน ลูกจ้างอัตราเงินเดือนชั่วคราวรายเดือน ตำแหน่ง นักการภารโรง
๑ คนและพนักงานธุรการ (ปฏิบัติร่วมกันในโรงเรียนบ้านสูงเนินสามัคคี และโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๖๒ฯ) ๑ คน
มีนายมีชัย กลยณีย์ เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน นายพัฒนา กลยนี เป็นรองผู้อำนวยโรงเรียน จัดการศึกษา
๒ ระดับ คือ ระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และจัดการศึกษาให้แก่เด็กใน เขตบริการโรงเรียน คือ
หมู่ที่ ๒ บ้านสูงเนิน และหมู่ที่ ๑๒ บ้านสามแยกสูงเนิน ตำบลพอกน้อย อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร
วันกำเนิดโรงเรียน วันที่ ๒๓ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๑
สีประจำโรงเรียน สีม่วง หมายถึง มีความกล้าหาญ เข้มแข็ง อดทน
สีขาว หมายถึง ความมีคุณธรรม จริยธรรม
ต้นไม้ประจำโรงเรียน คือ ต้นจามจุรี
คำขวัญของโรงเรียน เกษตรดี กีฬาเก่ง เคร่งจรรยา วิชาชาญ
ปรัชญาของโรงเรียน สุขโข ปญฺญา ปฏิลาโภ “ความได้ปัญญา ทำให้เกิดสุข”
อุดมการณ์ นักเรียนได้มาตรฐาน ประสานสามัคคี
เก่ง ดี มีคุณธรรมและคุณภาพ
สัญลักษณ์ สองมือชูหนังสือและคบเพลิง
อักษรย่อของโรงเรียนบ้านสูงเนินสามัคคี “ ส.น.ส. ”
รหัสไปรษณีย์ ๔๗๒๒๐
โทรศัพท์ / โทรสาร ๐๔๒-๗๕๙๑๙๗
เวปไซด์ http://www.sungnoensamakkee.com
๕. วิสัยทัศน์โรงเรียนบ้านสูงเนินสามัคคี
มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม
มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน จัดการศึกษาเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย
และบุคลากรในสถานศึกษาจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยชุมชนมีส่วนร่วม มีบรรยากาศที่เอื้อต่อ
การเรียนรู้ และผลการพัฒนาได้มาตรฐานการศึกษาของชาติ
๖. วิสัยทัศน์การจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
โรงเรียนบ้านสูงเนินสามัคคี มุ่งพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกคน ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
เป็นองค์รวม อย่างสมดุล ได้รับประสบการณ์เรียนรู้อย่างมีความสุข มีทักษะชีวิตที่จำเป็น และดำรงชีวิตประจำวัน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสำนึกความเป็นไทย โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา กับพ่อแม่
ครอบครัว และชุมชนทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็ก
๗. พันธกิจ (Mission)
๗.๑ โรงเรียนจัดการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและเศรษฐกิจพอเพียง
สู่สถานศึกษา
๗.๒ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประชากรวัยเรียนทุกคนอย่างทั่วถึง
๗.๓ จัดการเรียนรู้โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๗.๔ บริหารจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะและความสามารถใน
การดำรงชีวิตในประชาคมอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๗.๕ พัฒนาผู้เรียนให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้
๗.๖ ปลูกฝังค่านิยมพื้นฐานความเป็นไทยให้ผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
๗.๗ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
๗.๘ พัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้
๗.๙ พัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา จัดการเรียนรู้ สร้างและพัฒนานวัตกรรม
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
๗.๑๐ พัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษาให้จัดการเรียนรู้โดยเน้นกระบวนการวิจัยในชั้นเรียน
๗.๑๑ เสริมสร้างความเข้มแข็งการบริหารจัดการตามระบบการประกันคุณภาพภายใน
๘. เป้าประสงค์ (Goals)
๘.๑ โรงเรียนมีความเข้มแข็งในการบริหารและการจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพบน
หลักธรรมาภิบาล และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๘.๒ ประชากรวัยเรียนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง
๘.๓ โรงเรียนสามารถจัดการเรียนรู้โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
๘.๔ โรงเรียนสามารถจัดการศึกษาเพื่อเตรียมผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะและความสามารถ
ในการดำรงชีวิตในประชาคมอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๘.๕ ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้
๘.๖ ปลูกฝังค่านิยมพื้นฐานความเป็นไทยให้ผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ชัดเจนและเป็นรูปธรรม
๘.๗ นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๘.๘ ครู บุคลากรทางการศึกษา สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้
๘.๙ ครู บุคลากรทางการศึกษา สามารถสร้างและพัฒนานวัตกรรม เพื่อพัฒนาการเรียนรู้
๘.๑๐ ครู บุคลากรทางการศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้โดยเน้นกระบวนการวิจัยในชั้นเรียน
๘.๑๑ สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบประกันคุณภาพภายในและได้รับการรับรองมาตรฐาน
คุณภาพการจัดการศึกษาจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน) สมศ.
๙. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน
สังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ดังนี้
๑. รักชาติ ศาสนา และพระมหา กษัตริย์ ๕. อยู่อย่างพอเพียง
๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๖. มุ่งมั่นในการทำงาน
๓. มีวินัย ๗. รักความเป็นไทย
๔. ใฝ่เรียนรู้ ๘. มีจิตสาธารณะ
๑๐. อัตลักษณ์ของสถานศึกษา
เด็กมีระเบียบวินัย และมีคุณธรรม จริยธรรมแบบวิถีพุทธ
เด็กมีระเบียบวินัย และมีคุณธรรมจริยธรรมแบบวิถีพุทธ โรงเรียนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
ส่งเสริมให้เด็กเป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย ด้วยกิจกรรมโรงเรียนกิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ
การมีสมาธิ การเข้าร่วมกิจกรรมธรรมศึกษา เข้าค่ายคุณธรรม สอบธรรมศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๑๑. เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
เด็กมีความเป็นเลิศทางวิชาการ
ความเป็นเลิศทางวิชาการ โรงเรียนได้ดำเนินการจัดกิจกรรการเรียนรู้เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยจัดหาสื่อ เทคโนโลยีที่ทันสมัย
สื่อนวัตกรรมที่จัดหา และครูผู้สอนผลิตขึ้นเอง และนำมาใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ทางการเรียนรู้ให้กับ
เด็กทุกคน ตระหนักถึงพัฒนาการของเด็กให้ได้มาตรฐาน กิจกรรมฝึกทักษะ เตรียมเข้าแข่งขันทางวิชาการตาม
รายการกิจกรรมที่กำหนด
๑๒. จุดเน้น ปีงบประมาณ ๒๕๕๘
ส่วนที่ ๑ จุดเน้นด้านผู้เรียน
๑.๑ นักเรียนมีสมรรถนะสำคัญ สู่มาตรฐานสากล ดังต่อไปนี้
๑.๑.๑ นักเรียนปฐมวัยทุกคนมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและ
สติปัญญาที่สมดุลเหมาะสมกับวัยเรียนรู้อย่างมีเหตุผล
๑.๑.๒ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบ
ระดับชาติ(O-NET) ทุกกลุ่มสาระหลัก เพิ่มขึ้น เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕
๑.๑.๓ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒และ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ มีผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนจากการทดสอบท้องถิ่น (LAS) ทุกกลุ่มสาระหลักเพิ่มขึ้น
เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕
๑.๑.๔ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ มีความสามารถด้านภาษา ด้านการคำนวณและ
ด้านการใช้เหตุผลที่เหมาะสม
๑.๑.๕ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ อ่านออกเขียนได้
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ อ่านคล่องเขียนคล่อง
๑.๒ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม รักสามัคคี ปรองดอง สมานฉันท์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ภูมิใจในความเป็นไทย ห่างไกลยาเสพติด มี่คุณลักษณะและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม
๑.๒.๑ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ ใฝ่ดี รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
กตัญญู มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย
๑.๒.๒ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ ใฝ่เรียนรู้ มีความซื่อสัตย์ เสียสละ
อดทน มีความเข้มแข็งกายและใจ
๑.๓ นักเรียนมีความต้องการพิเศษได้รับการส่งเสริมและพัฒนาเต็มศักยภาพ
(เน้นเด็ก ด้อยโอกาส/เด็กพิเศษ)
๑.๓.๑ พิการได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็นรายบุคคล ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย
๑.๓.๒ เด็กด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ของหลักสูตรและอัตลักษณ์แห่งตน
๑.๓.๓ นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ได้รับการส่งเสริมให้มีความเป็นเลิศ
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์
ภาษา กีฬา ดนตรี และศิลปะ
๑.๓.๔ นักเรียนที่เรียนภายใต้การจัดการศึกษาโดยครอบครัว สถานประกอบการ
บุคคล องค์กรวิชาชีพ องค์กรเอกชน องค์กรชุมชน องค์กรสังคมอื่น และ
การศึกษาทางเลือก ได้รับการพัฒนาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน
๑.๓.๕ เด็กกลุ่มที่ต้องการคุ้มครองและช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษ ได้รับการคุ้มครอง
และช่วยเหลือเยียวยา ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย
ส่วนที่ ๒ จุดเน้นด้านครู และบุคลากรทางการศึกษา
๒.๑ ครูได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ ด้านการพัฒนาการคิด การวัดผลประเมินผล
การประเมินผลนักเรียนเป็นรายบุคคล
๒.๑.๑ ครูได้รับการเรียนรู้ในวิชาที่โรงเรียนต้องการได้ด้วยตนเอง หรือใช้สื่อเทคโนโลยี
๒.๑.๒ ครูได้รับการนิเทศภายในแบบกัลยาณมิตร อย่างต่อเนื่องและทั่วถึง
๒.๑.๓ ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีผลงานเชิงประจักษ์ ได้รับการยกย่อง
เชิดชูเกียรติอย่างเหมาะสม
ส่วนที่ ๓ จุดเน้นด้านการบริหารจัดการ
๓.๑ สถานศึกษา บริหารจัดการโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์เน้นการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วม
และมีความรับผิดชอบต่อผลการดำเนินงาน (Participation and Accountability)
๓.๑.๑ สถานศึกษาผ่านการรับรองคุณภาพภายนอก และมีผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนของนักเรียน (O-NET) สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ และได้รับพัฒนา
ช่วยเหลือ นิเทศ ติดตามและประเมินผลอย่างเนื่อง
๓.๑.๒ โรงเรียน มีระบบการนิเทศ เร่งรัด ติดตาม ประเมินผล สถานศึกษาและครู
อย่างมีประสิทธิภาพ
๓.๑.๓ โรงเรียน ครู และนักเรียนได้รับการเชิดชูเกียรติทางด้านต่าง ๆ เพิ่มขึ้น
๓.๒ สถานศึกษา จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน
๓.๒.๑ สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายใน ได้ระดับมาตรฐานของสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาและผ่านการรับรองจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
๑๓. ตัวชี้วัด
๑๓.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกระดับสูงขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ ต่อปี ดังนี้
๑) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกระดับสูงขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ ต่อปี ดังนี้
กลุ่มสาระ
|
ชั้น ป.๑
|
ชั้น ป.๒
|
ชั้น ป.๓
|
ชั้น ป.๔
|
ชั้น ป.๕
|
ชั้น ป.๖
|
ชั้น ป.๑-๖
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ภาษาไทย
|
๗๘.๔๔
|
๘๓.๔๔
|
๗๙.๗๐
|
๘๔.๗๐
|
๗๙.๖๓
|
๘๔.๖๓
|
๘๐.๖๐
|
๘๕.๖๐
|
๗๔.๘๘
|
๗๙.๘๘
|
๗๒.๒๔
|
๗๗.๒๔
|
๗๗.๕๘
|
๘๒.๕๘
|
คณิตศาสตร์
|
๗๗.๘๕
|
๘๒.๘๕
|
๗๖.๐๒
|
๘๑.๐๒
|
๘๒.๓๓
|
๘๗.๓๓
|
๗๘.๗๓
|
๘๓.๗๓
|
๗๙.๓๔
|
๘๔.๓๔
|
๗๐.๓๙
|
๗๕.๓๙
|
๗๗.๔๔
|
๘๒.๔๔
|
วิทยาศาสตร์
|
๗๗.๗๒
|
๘๒.๗๒
|
๗๕.๕๘
|
๘๐.๕๘
|
๗๘.๑๗
|
๘๓.๑๗
|
๗๕.๑๓
|
๘๐.๑๓
|
๗๒.๘๓
|
๗๗.๘๓
|
๗๑.๕๐
|
๗๖.๕๐
|
๗๕.๑๖
|
๘๐.๑๖
|
สังคมศึกษาฯ
|
๗๙.๒๐
|
๘๔.๒๐
|
๗๔.๓๑
|
๗๙.๓๑
|
๘๓.๑๙
|
๘๘.๑๙
|
๘๑.๐๕
|
๘๖.๐๕
|
๗๔.๙๗
|
๗๙.๙๗
|
๗๐.๕๕
|
๗๕.๕๕
|
๗๗.๒๑
|
๘๒.๒๑
|
ประวัติศาสตร์
|
๗๖.๘๒
|
๘๑.๘๒
|
๗๑.๓๘
|
๗๖.๓๘
|
๘๒.๑๔
|
๘๗.๑๔
|
๗๙.๖๒
|
๘๔.๖๒
|
๗๓.๑๙
|
๗๘.๑๙
|
๗๒.๓๑
|
๗๗.๓๑
|
๗๕.๙๑
|
๘๐.๙๑
|
สุขศึกษาฯ
|
๘๔.๙๔
|
๘๙.๙๔
|
๗๖.๓๕
|
๘๑.๓๕
|
๘๒.๙๒
|
๘๗.๙๒
|
๘๓.๓๓
|
๘๘.๓๓
|
๘๑.๒๓
|
๘๖.๒๓
|
๗๘.๖๘
|
๘๓.๖๘
|
๘๑.๒๔
|
๘๖.๒๔
|
ศิลปะ
|
๘๑.๕๙
|
๘๖.๕๙
|
๗๓.๘๒
|
๗๘.๘๒
|
๗๗.๗๔
|
๘๒.๗๔
|
๘๐.๙๙
|
๘๕.๙๙
|
๗๙.๙๖
|
๘๔.๙๖
|
๗๘.๗๘
|
๘๓.๗๘
|
๗๘.๘๑
|
๘๓.๘๑
|
การงานอาชีพฯ
|
๗๘.๓๑
|
๘๓.๓๑
|
๗๔.๗๗
|
๗๙.๗๗
|
๘๑.๖๙
|
๘๖.๖๙
|
๘๑.๑๔
|
๘๖.๑๔
|
๘๑.๑๓
|
๘๖.๑๓
|
๗๗.๕๒
|
๘๒.๕๒
|
๗๙.๐๙
|
๘๔.๐๙
|
ภาษาอังกฤษ
|
๗๙.๔๓
|
๘๔.๔๓
|
๖๘.๖๐
|
๗๓.๖๐
|
๗๐.๔๒
|
๗๔.๔๒
|
๖๙.๐๘
|
๗๔.๐๘
|
๗๓.๑๖
|
๗๘.๑๖
|
๗๓.๙๕
|
๗๘.๙๕
|
๗๒.๔๔
|
๗๗.๔๔
|
สาระเพิ่มเติม
(หน้าที่พลเมือง)
|
๗๖.๙๒
|
๘๑.๙๒
|
๗๑.๒๕
|
๗๖.๒๕
|
๘๕.๓๘
|
๙๐.๓๘
|
๘๑.๘๔
|
๘๖.๘๔
|
๗๖.๕๖
|
๘๑.๕๖
|
๗๗.๗๗
|
๘๒.๗๗
|
๗๘.๒๙
|
๘๓.๒๙
|
สาระเพิ่มเติม
(คอมพิวเตอร์)
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
๘๐.๘๐
|
๘๕.๘๐
|
๗๓.๔๐
|
๗๘.๔๐
|
๗๘.๐๐
|
๘๓.๐๐
|
๗๗.๔๐
|
๘๒.๔๐
|
กลุ่มสาระ
|
ชั้น ป.๑
|
ชั้น ป.๒
|
ชั้น ป.๓
|
ชั้น ป.๔
|
ชั้น ป.๕
|
ชั้น ป.๖
|
ชั้น ป.๑-๖
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
ปี ๒๕๕๗
|
ปี ๒๕๕๘
|
เฉลี่ยร้อยละ
|
๗๙.๑๒
|
๘๔.๑๒
|
๗๔.๑๘
|
๗๙.๑๘
|
๘๐.๓๖
|
๘๕.๓๖
|
๗๙.๓๐
|
๘๔.๓๐
|
๗๖.๔๒
|
๘๑.๔๒
|
๗๔.๗๐
|
๗๙.๗๐
|
๗๗.๓๔
|
๘๒.๓๔
|
๑๓.๒ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ โดยผลการทดสอบ
ระดับชาติ (O-NET)เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๕ (Student Achievement) ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้
|
ปีการศึกษา ๒๕๕๗
|
ปีการศึกษา ๒๕๕๘
เพิ่มขึ้นอย่างน้อย
|
ภาษาไทย
|
๕๐.๙๕
|
๕๕.๙๕
|
คณิตศาสตร์
|
๔๐.๒๕
|
๔๕.๒๕
|
วิทยาศาสตร์
|
๕๑.๐๓
|
๕๖.๐๓
|
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
|
๕๘.๔๕
|
๖๓.๒๐
|
สุขศึกษาและพลศึกษา
|
๕๗.๒๐
|
๖๒.๒๐
|
ศิลปะ
|
๔๘.๑๓
|
๕๓.๑๓
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
๕๙.๘๐
|
๖๔.๘๐
|
ภาษาอังกฤษ
|
๓๖.๘๘
|
๔๑.๘๘
|
เฉลี่ย
|
๕๐.๓๔
|
๕๕.๓๔
|
๑๓.๓ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โดยผลการทดสอบ
ระดับชาติ (NT )ของเด็กปกติ เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๕ (Student Achievement) ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้
|
ปีการศึกษา ๒๕๕๗
|
ปีการศึกษา ๒๕๕๘
เพิ่มขึ้นอย่างน้อย
|
ร้อยละ
|
ร้อยละ
|
ความสามารถทางภาษา
|
๖๘.๑๗
|
๗๓.๑๗
|
ความสามารถด้านคำนวณ
|
๔๙.๔๐
|
๕๔.๔๐
|
ความสามารถด้านเหตุผล
|
๖๓.๗๔
|
๖๘.๗๔
|
เฉลี่ยร้อยละ
|
๖๐.๔๕
|
๖๕.๔๕
|
๑๓.๔ ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพอนามัยให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ของกรมอนามัย ร้อยละ ๑๐๐
๑๓.๕ ผู้เรียนได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติในการทำความดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐
๑๓.๖ ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
ร้อยละ๑๐๐
๑๓.๗ ผู้เรียนปลอดจากสารเสพติด ร้อยละ ๑๐๐
๑๓.๘ ประชากรในวัยเรียนได้รับการพัฒนาและปลูกฝังประชาธิปไตย ร้อยละ ๑๐๐
๑๓.๙ ประชากรในวัยเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง ร้อยละ ๑๐๐
๑๓.๑๐ อัตราการออกกลางคันของนักเรียนไม่เกินร้อยละ ๐.๒๐
๑๓.๑๑ สถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบริหารและการจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพบน
หลักธรรมาภิบาลและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละ ๑๐๐
๑๓.๑๒ สถานศึกษาทุกระดับผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาของ สมศ.ร้อยละ ๑๐๐
๑๔. กลยุทธ์โรงเรียนบ้านสูงเนินสามัคคี
กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท
กลยุทธ์ที่ ๒ ขยายโอกาสเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียน
ให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ
กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาระบบบริหารจัดการ
๑๕. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑.นายปิติ โลหะสาร ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ
๒.นายวาระ กลยนี ผู้แทนองค์กรศาสนา รองประธานกรรมการ
๓.นายไพโรจน์ ราชคำ ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ
๔.นางรัตนาพร กลยนี ผู้แทนครู กรรมการ
๕.นายบัวทอง กลยนี ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ
๖. นายพัฒนา นรสาร ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ
๗.นายชัยสิทธิ์ คำทะเนตร ผู้แทนศิษย์เก่า กรรมการ
๘.นายประจิบ กลยนี ผู้แทนองค์กรศาสนา กรรมการ
๙.นายสงสัย กลยนี ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๑๐. นายจีระวัฒน์ วรรณวงค์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๑๑.นางขวัญใจ กัลยาแก้ว ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๑๒.นางยุวดี กาญจนเกตุ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๑๓.นายนิศิษฐ์ คำทะเนตร ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๑๔.นายนิยม แก้วดี ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๑๕.นายมีชัย กลยณีย์ ผู้อำนวยการสถานศึกษา กรรมการและเลขานุการ
ระดับชั้น
|
คุณครูประจำชั้น
|
จำนวนนักเรียน
|
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
จำนวนห้องเรียน
|
อนุบาล ๑/๑
|
นางพันศักดิ์ ก้อนตาล
|
๑๗
|
๑๕
|
๓๒
|
๒
|
อนุบาล ๑/๒
|
นางจุฬารัตน์ คนเพียร
|
๑๗
|
๑๕
|
๓๒
|
อนุบาล ๒/๑
|
นางสมจิต เกื้อทาน
|
๑๔
|
๑๖
|
๓๐
|
๒
|
อนุบาล ๒/๒
|
นางสมพร คำภูแสน
|
๑๒
|
๑๙
|
๓๑
|
รวม
|
๖๐
|
๖๕
|
๑๒๕
|
๔
|
ป.๑/๑
|
นางบารมี สุวรรณรงค์
|
๑๐
|
๑๒
|
๒๒
|
๓
|
ป.๑/๒
|
นางกาญจนา การุญ
|
๑๑
|
๑๑
|
๒๒
|
ป.๑/๓
|
นางพิรานันท์ อินพรมมา
|
๑๑
|
๑๑
|
๒๒
|
ป.๒/๑
|
นางบังอร ทิพย์สุวรรณ์
|
๑๕
|
๑๗
|
๓๒
|
๒
|
ป.๒/๒
|
นางวงศ์เดือน สิงหันต์
|
๑๖
|
๑๖
|
๓๒
|
ป.๓/๑
|
นางบุญชู มาตราช
|
๒๐
|
๑๖
|
๓๖
|
๒
|
ป.๓/๒
|
นางวรรณภา ชาติชำนิ
|
๑๙
|
๑๗
|
๓๖
|
ป.๔/๑
|
นายเทวมิตร มาตราช
|
๑๗
|
๑๖
|
๓๓
|
๒
|
ป.๔/๒
|
นางกนกภรณ์ เทพวงศ์ษา
|
๑๖
|
๑๖
|
๓๒
|
ป.๕/๑
|
นางรัตนาพร กลยนี
|
๑๘
|
๑๗
|
๓๕
|
๒
|
ป.๕/๒
|
นางสาววัจณา อินทรีย์
|
๑๙
|
๑๗
|
๓๖
|
ป.๖/๑
|
นางสาวฉลาด เสนาศรี
|
๑๓
|
๑๖
|
๒๙
|
๒
|
ป.๖/๒
|
นางพรเพชร ไชยศรี
|
๑๓
|
๑๖
|
๒๙
|
รวม
|
๑๙๘
|
๑๙๘
|
๓๙๖
|
๑๓
|
รวมทั้งสิ้น
|
๒๕๘
|
๒๖๓
|
๕๒๑
|
๑๗
|
ประจำกลุ่มสาระ
|
นางสมปอง บุญศรี
|
อังกฤษ ชั้นป.๑-๒-๓ ดนตรี-ศิลปะ ชั้น ป.๓
|
ประจำกลุ่ม
|
นางจริยา กลยนี
|
เสริมภาษาอังกฤษ ชั้น อบ.๑-๒
|
ประจำกลุ่มสาระ
|
นางปราณี มหาราต
|
ภาษาอังกฤษ ป.๔,๕,๖
|
ประจำกลุ่มสาระ
|
นางสาวสินาภรณ์ ทิพกุล
|
วิทยาศาสตร์ ป.๒,๔,๕/๒ (น.ศ.ฝึกประสบการณ์ ๑ ปี)
|
ประจำกลุ่มสาระ
|
นางสาวพิทักษ์กุล กลยนี
|
คณิตศาสตร์ ป.๔และ ป.๕/๑ (น.ศ.ฝึกประสบการณ์ ๑ ปี)
|
ประจำกลุ่มสาระ
|
นายอิสระ กลยนี
|
สอน นักเรียน LD,พลศึกษา ป.๑-๖ และลูกเสือ ป.๒,๓,๕,๖
|
รองผู้บริหาร
|
นายพัฒนา กลยนี
|
สอนคอมพิวเตอร์ ป.๑-๖ และหน้าที่พลเมือง ป๓/๑,๔,๕
|
ผู้บริหาร
|
นายมีชัย กลยณีย์
|
-
|
ข้อมูลบุคลากร ปีการศึกษา ๒๕๕๘
ที่
|
ชื่อ - สกุล
|
วุฒิ
ครู
|
วิชาเอก
|
ตำแหน่ง/
วิทยฐานะ
|
วัน/เดือน/ปี
ที่บรรจุ
|
วัน/เดือน/ปี
เกิด
|
๑.
|
นายมีชัย กลยณีย์
|
กศ.ม.
|
จิตวิทยาการศึกษา
|
ผอ./ค.ศ.3
|
๒๙ ก.ค.๓๐
|
๓ ธ.ค.๐๔
|
๒.
|
นายพัฒนา กลยนี
|
ศษ.ม.
|
บริหารการศึกษา
|
รอง.ผอ./ค.ศ.3
|
๑ พ.ค.๒๒
|
๑๑ ก.ย.๐๓
|
๓.
|
นายเทวมิตรมาตราช
|
ศษ.บ.
|
บริหารการศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๑ ต.ค.๒๓
|
๒๓ พ.ย.๐๓
|
๔.
|
นางพรเพชร ไชยศรี
|
ค.บ.
ศษ.ม.
|
วิทยาศาสตร์
บริหารการศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๑
|
|
|
๕.
|
นางพิรานันท์
อินพรมมา
|
ศษ.บ
|
ประถมศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๑๓ พ.ค.๒๖
|
๒๗เม.ย.๐๕
|
๖.
|
นางบุญชู มาตราช
|
ค.บ.
|
ประถมศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๒ พ.ค.๒๕
|
๗ ม.ค.๐๓
|
๗.
|
นางพันศักดิ์ก้อนตาล
|
ค.บ.
|
ประถมศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๑๖ มี.ค.๒๖
|
๑๑ ส.ค.๐๔
|
๘.
|
นางรัตนาพร กลยนี
|
ค.บ.
|
ภาษาไทย
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๑ พ.ค.๒๒
|
๑๓ ม.ค.๐๓
|
๙.
|
น.ส.วัจณา อินทรีย์
|
ศษ.บ.
|
ประถมศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๑ ก.ย.๒๔
|
๑๕ พ.ย.๐๔
|
๑๐
|
นางวงศ์เดือน
สิงหันต์
|
ศษ.บ.
|
ประถมศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๑๖ ส.ค.๒๕
|
๒๐ พ.ค.๐๔
|
๑๑
|
นางบารมี
สุวรรณรงค์
|
ค.บ.
|
ประถมศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๑ พ.ค.๒๔
|
๑เม.ย.๐๒
|
๑๒
|
นางสมจิต เกื้อทาน
|
ค.บ.
|
เทคโนโลยีฯ
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๑ พ.ค.๒๔
|
๑ ก.พ.๐๒
|
๑๓
|
นางวรรณภา
ชาติชำนิ
|
ศษ.บ.
|
ประถมศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๖ ธ.ค.๒๐
|
๑๑ ม.ค.๙๙
|
๑๔
|
นางสาวฉลาด
เสนาศรี
|
ศษ.ม.
|
เทคโนโลยี/สื่อสารฯ
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๓ ม.ค.๓๘
|
๑๕ มี.ค.๑๖
|
๑๕
|
นางปราณี มหาราต
|
ศษ.บ.
|
ภาษาอังกฤษ
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๒ พ.ย.๓๕
|
๑๔ ส.ค.๑๒
|
๑๖
|
นางกนกภรณ์
เทพวงศ์ษา
|
ค.บ.
|
ประถมศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๑๗พ.ค.๓๗
|
๕ ก.ค.๑๔
|
๑๗
|
นางจริยา กลยนี
|
ค.บ.
|
ภาษาอังกฤษ
|
ครู / ค.ศ.๒
|
๒ พ.ย.๔๑
|
๓๐ ก.ย.๑๗
|
๑๘
|
นางกาญจนา การุญ
|
ศษ.บ.
|
ภาษาไทย
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๑๖ พ.ค.๒๗
|
๓ ส.ค.๐๕
|
๑๙
|
นางสมพร คำภูแสน
|
ค.บ.
|
พลศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๒๑ ต.ค.๒๖
|
๒๘ ม.ค.๐๓
|
๒๐
|
นางบังอร
ทิพย์สุวรรณ์
|
ค.บ.
|
เทคโนโลยี ฯ
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๒๔ส.ค.๓๘
|
๑๕ มี.ค.๑๐
|
๒๑
|
นางสมปอง บุญศรี
|
ค.บ.
ศษ.บ.
|
ภาษาอังกฤษ
สังคมศึกษา
|
ครู / ค.ศ.๓
|
๑ ม.ค.๑๗
|
๑๕ ต.ค.๙๗
|
๒๒
|
นางจุฬารัตน์
คนเพียร
|
ค.บ.
|
การศึกษาปฐมวัย
|
พนักงานราชการ
|
๑ ต.ค.๔๘
|
๑ม.ค.๑๙
|
๒๓
|
นายอิสระ กลยนี
|
วท.บ.
|
เกษตรศาสตร์
|
พี่เลี้ยงเด็กพิการ
|
๔ ม.ค.๕๓
|
๑๖ ต.ค.๑๗
|
๒๔
|
น.ส.พรวลี ชาวดง
|
บ.ธบ.
|
การจัดการ
|
พนักงานธุรการ
|
๑ ต.ค.๕๒
|
๑ ต.ค.๒๙
|
๒๕
|
นายสุทธิชัย สุราราช
|
ป.6
|
-
|
นักการภารโรง
|
๑ ต.ค.๕๖
|
๑๒ เม.ย.๑๓
|
ชื่อ – สกุล
|
รายการดีเด่นที่ได้รับ
|
วัน เดือน ปี
ที่ได้รับ
|
หน่วยงานที่มอบให้
|
นางสมจิต เกื้อทาน
|
-ครูผู้สอนนักเรียนรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทองชนะเลิศ กิจกรรมการสร้างภาพด้วยการฉีก ตัดปะ กระดาษ ระดับปฐมวัย
-ครูผู้สอนนักเรียนรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทองรองชนะเลิศอันดับที่ ๒ กิจกรรมการสร้างภาพด้วยการฉีก ตัดปะ กระดาษ ระดับปฐมวัย
|
๑๗ – ๑๙
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
๘ – ๑๓
ธันวาคม
๒๕๕๘
|
งานศิลปหัตถกรรม
นักเรียน
ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๔
ศูนย์แสดงสินค้าและ
การประชุมอิมแพ็ค
เมืองทองธานี จ.นนทบุรี
งานศิลปหัตถกรรม
นักเรียน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ครั้งที่ ๖๔
จังหวัดสกลนคร
|
นางพันศักดิ์ ก้อนตาล
|
-ครูผู้สอนนักเรียนรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทองชนะเลิศ กิจกรรมการสร้างภาพด้วยการฉีก ตัดปะ กระดาษ ระดับปฐมวัย
-ครูผู้สอนนักเรียนรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทองรองชนะเลิศอันดับที่ ๒ กิจกรรมการสร้างภาพด้วยการฉีก ตัดปะ กระดาษ ระดับปฐมวัย
|
๑๗ – ๑๙
กุมภาพันธ์
๒๕๕๘
๘ – ๑๓
ธันวาคม
๒๕๕๘
|
งานศิลปหัตถกรรม
นักเรียน
ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๔
ศูนย์แสดงสินค้าและ
การประชุมอิมแพ็ค
เมืองทองธานี จ.นนทบุรี
งานศิลปหัตถกรรม
นักเรียน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ครั้งที่ ๖๔
จังหวัดสกลนคร
|
นางจริยา กลยนี
|
-ครูผู้สอนนักเรียนรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทอง ลำดับที่ ๑๗ กิจกรรมการวาดภาพระบายสีด้วยสีเทียน ระดับปฐมวัย
|
๘ – ๑๓
ธันวาคม
๒๕๕๘
|
งานศิลปหัตถกรรม
นักเรียน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ครั้งที่ ๖๔
จังหวัดสกลนคร
|
นางสมพร คำภูแสน
|
-ครูผู้สอนนักเรียนรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทอง ลำดับที่ ๒๓ กิจกรรมการเล่านิทานประกอบท่าทาง
ระดับปฐมวัย
|
๘ – ๑๓
ธันวาคม
๒๕๕๘
|
งานศิลปหัตถกรรม
นักเรียน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ครั้งที่ ๖๔
จังหวัดสกลนคร
|
นางสาววัจณา อินทรีย์
|
-ครูผู้สอนนักเรียนรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทอง ลำดับที่ ๑๐ กิจกรรม
การแข่งขันคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ระดับชั้น ป.๑-๖
-ครูผู้สอนนักเรียนรางวัลเกียรติบัตรเหรียญเงิน ลำดับที่ ๔๙ กิจกรรม
การแข่งขันการจัดทำหนังสือเล่มเล็ก ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับชั้น ป.๑-๖
|
๘ – ๑๓
ธันวาคม
๒๕๕๘
|
งานศิลปหัตถกรรม
นักเรียน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ครั้งที่ ๖๔
จังหวัดสกลนคร
|
นางสาวฉลาด เสนาศรี
|
-ครูผู้สอนนักเรียนรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทอง ลำดับที่ ๑๐ กิจกรรม
การแข่งขันคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ระดับชั้น ป.๑-๖
-ครูผู้สอนนักเรียนรางวัลเกียรติบัตรเหรียญเงิน ลำดับที่ ๔๙ กิจกรรม
การแข่งขันการจัดทำหนังสือเล่มเล็ก ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับชั้น ป.๑-๖
|
๘ – ๑๓
ธันวาคม
๒๕๕๘
|
งานศิลปหัตถกรรม
นักเรียน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ครั้งที่ ๖๔
จังหวัดสกลนคร
|
นางบุญชู มาตราช
|
-ครูผู้สอนนักเรียนรางวัลเกียรติบัตรเข้าร่วม ลำดับที่ ๒๖ กิจกรรม
การแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ป.๑-๓
|
๘ – ๑๓
ธันวาคม
๒๕๕๘
|
งานศิลปหัตถกรรม
นักเรียน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ครั้งที่ ๖๔
จังหวัดสกลนคร
|
ข้อมูลจำนวนนักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๗
เข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ มีรายละเอียดสถานศึกษาที่เรียนต่อ ดังนี้
ที่
|
ชื่อ -สกุล
|
สถานศึกษาที่เรียนต่อ/โรงเรียน
|
|
|
๑
|
เด็กชายนนทวัฒน์ คนเพียร
|
|
|
๒
|
เด็กชายวีรวัฒน์ สุราราช
|
|
|
๓
|
เด็กชายจิรเดช โคสาสุ
|
|
|
๔
|
เด็กชายกฤษดา มาพอน
|
|
|
๕
|
เด็กชายธนาพล นรสาร
|
|
|
๖
|
เด็กชายณัฐดนัย เหลาแตว
|
|
|
๗
|
เด็กชายจักรพรรณ อุปรีย์
|
|
|
๘
|
เด็กชายณัฐวุฒิ แสนปัดสี
|
|
|
๙
|
เด็กชายอาทิตย์ รัชตะวิไล
|
|
|
๑๐
|
เด็กชายวรากร ผลไม้
|
|
|
๑๑
|
เด็กชายรัตนพล ทองเกลี้ยง
|
|
|
๑๒
|
เด็กชายสุรบถ เขาขำ
|
|
|
๑๓
|
เด็กชายราชัน ไชยตะมาตย์
|
|
|
๑๔
|
เด็กหญิงกมลพรรณ กลยนีย์
|
|
|
๑๕
|
เด็กหญิงชญาดา คำทะเนตร
|
|
|
๑๖
|
เด็กหญิงนฤภร ช่วยรักษา
|
|
|
๑๗
|
เด็กหญิงศศิวิมล ก้อนแพง
|
|
|
๑๘
|
เด็กหญิงมนัษนันท์ โคตะบิน
|
|
|
๑๙
|
เด็กหญิงต้นหญ้า เหลาแตว
|
|
|
๒๐
|
เด็กหญิงปวันรัตน์ สุริยะแสง
|
|
|
๒๑
|
เด็กหญิงช่ออุรา กลยนี
|
|
|
๒๒
|
เด็กหญิงอัญชลี บุตรดาซุย
|
|
|
๒๓
|
เด็กหญิงจีนลดา อุตศาสตร์
|
|
|
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖/๒
|
|
เด็กชายธนพัทธ์ วรรณรงค์
|
|
|
|
เด็กชายกฤษณ์สกล กลยนีย์
|
|
|
ที่
|
ชื่อ -สกุล
|
สถานศึกษาที่เรียนต่อ/โรงเรียน
|
|
|
เด็กชายสุเมธ ไชยตะมาตย์
|
|
|
|
เด็กชายนันทพงศ์ นรสาร
|
|
|
|
เด็กชายเลิศสกุล สร้อยงาม
|
|
|
|
เด็กชายกิตติชัย แสนปัดสี
|
|
|
|
เด็กชายอภิรักษ์ หลงทอน
|
|
|
|
เด็กชายชาคริต คนเพียร
|
|
|
|
เด็กชายธนสิน แดงงาม
|
|
|
|
เด็กหญิงปรางทิพย์ ศักดิ์สุจริต
|
|
|
|
เด็กหญิงทิพย์สุดา ลีลาสาร
|
|
|
|
เด็กหญิงธารทิพย์ อุปพงศ์
|
|
|
|
เด็กหญิงสุดาพร บาดดี
|
|
|
|
เด็กหญิงพรนิภา นรสาร
|
|
|
|
เด็กหญิงปารนีย์ คำทะเนตร
|
|
|
|
เด็กหญิงศิโรรัตน์ แสนชัย
|
|
|
|
เด็กหญิงนวลอนงค์ สิงห์สนอง
|
|
|
|
เด็กหญิงอัญลดา สอนวงษา
|
|
|
|
เด็กหญิงปานตะวัน ไชยศรี
|
|
|
|
เด็กชายธีรพัฒน์ แก้วดี
|
|
|
|
เด็กชายกิติพัฒน์เลิศพงษ์สุวรรณ
|
|
|
|
เด็กชายครรชิต การุญ
|
|
|
|
เด็กชายนพรัตน์ สุจริต
|
|
|
สรุป นักเรียนจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๔๖ คน สถานศึกษาที่เรียนต่อ ดังนี้
๑. โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล อ.เมือง จ.สกลนคร จำนวน ๙ คน
๒. โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา อ.เมือง จ.สกลนคร จำนวน ๒๗ คน
๓. โรงเรียนเทพสวัสดิ์วิทยา อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร จำนวน ๑ คน
๔. โรงเรียนดงมะไฟวิทยา ต.ขมิ้น อ.เมือง จ.สกลนคร จำนวน ๔ คน
๕. โรงเรียนชุมชนบดมาดพอกน้อย อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร จำนวน ๒ คน
๖. โรงเรียนชุมชนบ้านนาดีหนองไผ่ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร จำนวน ๒ คน
๗. โรงเรียนเทศบาล ๒ อ.เมือง จ.สกลนคร จำนวน ๑ คน
เข้าชม : 3461
|